Adverb
คือ คำกริยาวิเศษณ์ ทำหน้าที่ขยายคำกริยา, คำคุณศัพท์,
และคำกริยาวิเศษณ์ตัวอื่นๆ โดยมีลักษณะต่างๆดังนี้
ชนิดของ Adverb แบ่งตามความหมายได้ดังนี้
1. Adverb of manner (กริยาวิเศษณ์บอกกริยาอาการ)
adverb ที่บอกว่าการกระทำนั้นได้กระทำในลักษณะอาการอย่างไร ( How ) ส่วนมากจะเป็น adverb ที่ลงท้ายคำด้วย -ly ของคำคุณศัพท์
เช่น quickly, happily, bravely, hard, fast, well
adverb ที่บอกว่าการกระทำนั้นได้กระทำในลักษณะอาการอย่างไร ( How ) ส่วนมากจะเป็น adverb ที่ลงท้ายคำด้วย -ly ของคำคุณศัพท์
เช่น quickly, happily, bravely, hard, fast, well
2. Adverb of place (กริยาวิเศษณ์บอกสถานที่)
adverb ที่ บอกว่าการกระทำนั้นเกิดขึ้นที่ไหน หรือ การเคลื่อนจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนัง ( Where )
เช่น here, there, everywhere, up, down, near, abroad, above
adverb ที่ บอกว่าการกระทำนั้นเกิดขึ้นที่ไหน หรือ การเคลื่อนจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนัง ( Where )
เช่น here, there, everywhere, up, down, near, abroad, above
3. Adverb of time (กริยาวิเศษณ์บอกเวลา)
adverb ที่ บอกว่าการกระทำนั้นเกิดเมื่อใด ( when ) เป็นเวลานานแค่ไหน ( for how long ) และบ่อยแค่ไหน ( how often )
เช่น When = today, yesterday, later,now, last year, after, soon, before, sometime, For how long = all day, not long, for a while, since last year, temporarily, briefly, from……to, till, until ( บางตำราแยกเป็น Adverbs of Duration [กริยาวิเศษณ์บอกระยะที่ดำเนินการมา] )
How often = sometimes , frequently, never, often, always, monthly ( บางตำราแยกหัวข้อนี้ออกเป็น Adverbs of Frequency [กริยาวิเศษณ์บอกความสม่ำเสมอ] )
adverb ที่ บอกว่าการกระทำนั้นเกิดเมื่อใด ( when ) เป็นเวลานานแค่ไหน ( for how long ) และบ่อยแค่ไหน ( how often )
เช่น When = today, yesterday, later,now, last year, after, soon, before, sometime, For how long = all day, not long, for a while, since last year, temporarily, briefly, from……to, till, until ( บางตำราแยกเป็น Adverbs of Duration [กริยาวิเศษณ์บอกระยะที่ดำเนินการมา] )
How often = sometimes , frequently, never, often, always, monthly ( บางตำราแยกหัวข้อนี้ออกเป็น Adverbs of Frequency [กริยาวิเศษณ์บอกความสม่ำเสมอ] )
4. Adverb of degreeเป็นกริยาวิเศษณ์ที่ส่วนใหญ่ไปขยาย adjective หรือ adverb ด้วยกันเอง เพื่อบอกระดับหรือปริมาณความมากน้อย คำที่พบบ่อยๆ (How much) ( บางตำราแยกหัวข้อนี้ออกเป็น Adverbs of quantity [กริยาวิเศษณ์บอกปริมาณมากหรือน้อย] )
ได้แก่
เช่น very, fairly, rather, quite, too, hardly
ได้แก่
เช่น very, fairly, rather, quite, too, hardly
5. Adverb of Affirmation or Negation คือ กริยาวิเศษณ์บอกการรับหรือปฏิเสธ
เช่น yes, no, not, not at all, of course, actually
เช่น yes, no, not, not at all, of course, actually
*6. Conjunctive Adverbs เป็นกริยาวิเศษณ์ที่ทำหน้าที่เป็นคำเชื่อมอนุประโยค (independent clause) ในประโยค โดยมีข้อความของอนุประโยคหน้าและอนุประโยคหลังเชื่อมโยงกัน เช่นคำต่อไปนี้
เช่น next, finally, also, anyway, besides, still
*7. Interrogative Adverbs (บางตำราก็เขียนไว้ว่า Adverb of Interrogative) กริยาวิเศษณ์นำในประโยคคำถาม ได้แก่คำดังต่อไปนี้
เช่น why, where, how, when, which, who
*8. Relative Adverbs เป็นคำกริยาวิเศษณ์นำหน้า relative clause ได้แก่คำ when, where, why แทนคำ preposition + which
* หมายเหตุ บางตำราอาจจะไม่มี หรือรวมไว้ในหมวดเดียวกัน
หลักการสร้าง Adverb / แหล่งกำเนิด Adverb (หลักการเปลี่ยน adjective -> adverb)
1. Adverb ส่วนมากเกิดจากคำการเติม –ly ท้าย adjective
careful -> carefully
quick -> quickly
quick -> quickly
โดยหลักการเติม –ly มีดังนี้
a) คำที่ลงท้ายด้วย –e ให้เติม –ly ได้เลย เช่น
a) คำที่ลงท้ายด้วย –e ให้เติม –ly ได้เลย เช่น
extreme -> extremely
ยกเว้น คำเหล่านี้ที่เปลี่ยนทั้งรูปได้แก่ true -> truly, due -> duly, whole -> wholly
b) คำที่ลงท้ายด้วย –le (-able, -ible) ให้เติม –ly เช่น
comfortable -> comfortablely
c) คำที่ลงท้ายด้วย –y เปลี่ยน –y เป็น –i และเติม –ly เช่น
c) คำที่ลงท้ายด้วย –y เปลี่ยน –y เป็น –i และเติม –ly เช่น
happy -> happily
d) คำที่ลงท้ายด้วย (สระ+l) ให้เติม –ly เช่น
beautiful -> beautilfully
e) นอกจากกฎเกณฑ์ที่ลงท้ายตามข้อ 1-2 แล้ว เมื่อต้องการให้เป็นกริยาวิเศษณ์ (Adverb) ให้เติม ly ปัจจัยได้เลย ไม่ต้องลังเลใจให้เสียเวลา
2. Adverb บางคำขึ้นต้นด้วย a-
เช่น a+go = ago, a+broad = abroad, a+new = anew, a+part = apart, a+side = aside
เช่น a+go = ago, a+broad = abroad, a+new = anew, a+part = apart, a+side = aside
3. Adverb บางชนิดเติม –wise หรือ –ward
เช่น forwards, backwards
4. มีรูปของตนเองมาโดยกำเนิด จะต่อเติมหรือตัดออกแม้เพียงส่วนใดส่วนหนึ่ง ไม่ได้ ได้แก่คำว่า here,there,hard,always,well,lften,too,ver,early, seldom,etc.
*** 5.Adverb บางคำเป็นรูปเดียวกับ Adjective
มี Adverb อยู่บางตัวซึ่งมีรูปเช่นเดียวกันกับ Adjective
คำต่อไปนี้เป็นได้ทั้ง Adjective และ Adverb
สุดท้ายแต่วิธีใช้ หรือตำแหน่งวางไว้ในประโยคของมันได้แก่
table update coming soon…)
คำทั้งหมดที่กล่าวมานี้ ถ้านำไปใช้โดยวางไว้หน้านามหรือหลัง Ber to be, taste, feel, smell, etc. ทำหน้าที่ เป็น Adjective แต่ถ้านำไปใช้โดยวางไว้หลังกริยาทั่ว ๆ ไป นอกจาก
Verb to do ฯลฯ ตามที่กล่าวมาแล้ว ทำหน้าที่เป็น Adverb ตัวอย่าง
วิธีการใช้ adverb
1. Adverb of manner
+ ถ้าประโยคไม่มีกรรมให้วางหลังกริยา เช่น They walk slowly.
+ ถ้าประโยคนั้นมีกรรม ให้วางหลังกรรม เช่น I can speak Japanese well.
+ Adverb of Manner ที่ลงท้ายด้วย -ly หรือเป็นคำที่แสดงความเห็นของผู้พูดเกี่ยวกับการกระทำนั้น ส่วนใหญ่นิยมวางไว้ในประโยค เช่น I have carefully considered all of the possibilities.
+ Adverbs of Manner อาจจะวางไว้หน้าประโยคได้เมื่อต้องการเน้น Adverb นั้น เช่น
Patiently, we waited for the show to begin.
+ ประโยคอุทานที่ขึ้นต้นด้วย How ให้วาง Adverbs of Manner ไว้หลัง How เช่น
How quickly the time passes!
+ ในประโยค passive voice ถ้ามี Adverb of Manner มาขยาย ให้วางไว้หน้ากริยาช่อง 3 เสมอ
เช่น The report was well written.
+ แต่ในกรณีที่ต้องการเน้น สามารถนำมาไว้หน้าประโยคได้ เช่น As quickly as we could, we finished the work.
2. Adverb of place
+ ตำแหน่งของ Adverb of Place ปกติจะวางท้ายประโยคหลังกริยาหลัก ( main verb ) หรือหลังกรรม ( object ) และไม่มีคำอื่นต่อท้าย เช่น
The students are walking home.
3. Adverb of time
+ Adverb ที่บอกว่าเกิดเมื่อใด ( When ) ส่วนมากจะนิยมวางท้ายประโยค เช่น
I ‘m going to tidy my room tomorrow.
+ Adverb of time ส่วนมากจะวางไว้ในกลางประโยคไม่ได้ ยกเว้น now, once, และ then เช่น It is now time to leave.
+ Adverb ที่บอกว่าบ่อยแค่ไหน ( how often ) เป็นการแสดงความถี่ของการกระทำ ส่วนมากวางหน้ากริยาหลัก ( main verb ) แต่หลังกริยาช่วย ( auxiliary verbs ) เช่น be, have, may, must
I often eat vegetarian food.
+ Adverb ที่บอกว่าบ่อยแค่ไหนซึ่งระบุจำนวนเวลาของการกระทำที่แน่นอน ส่วนมากจะวางท้ายประโยค เช่น This magazine is published monthly.
+ Adverb ที่สามารถวางท้ายประโยค หรือวางหน้ากริยาหลัก เช่น frequently,generally, normally, occasionally,often, regularly, sometimes, usually เช่น She regularly visits France.
4. Adverb of degree
+ ตำแหน่งของ Adverbs of Degree ส่วนใหญ่วางหน้าคำที่มันขยาย มักจะขยาย adjective หรือ adverb ด้วยกันเอง และวางหน้า main verb หรือระหว่างกริยาช่วย ( auxiliary verb )กับ main verb เช่น The water was extremely cold.
+ ตำแหน่งของ Adverbs of Degree ส่วนใหญ่วางหน้าคำที่มันขยาย มักจะขยาย adjective หรือ adverb ด้วยกันเอง และวางหน้า main verb หรือระหว่างกริยาช่วย ( auxiliary verb )กับ main verb เช่น The water was extremely cold.
หลักการเรียงลำดับ adverb หลายชนิดที่ขยายกริยา
1.สถานที่ (place) 2.กริยาอาการ (manner) 3.ความถี่ (frequency) 4.เวลา (Time)
* โดยมากใช้กับกริยาที่เกี่ยวกับการเคลื่อนไหวจากสถานที่หนึ่งไปอีกที่หนึ่ง เช่น go, leave, walk, fly, come
(table update coming soon...)
*ถ้าเป็นกริยาที่ไม่เกี่ยวกับการเคลื่อนไหวจากสถานที่หนึ่งไปอีกที่หนึ่งให้เรียงกริยาอาการมาก่อนสถานที่
- She sang beautifully in the hall last night.
* กรณีมี adverb ชนิดเดียวกันมากกว่า 1 ตัวขยายกริยา ให้เรียงจากจุดเล็กสุดมายังจุดกว้างสุด
- Dan was born at seven o’clock on Sunday in August in 1975.
ขอขอบคุณ : http://cstproject.exteen.com/20080924/adverb
ขอขอบคุณ : http://cstproject.exteen.com/20080924/adverb
มีการอธิบายเนื้อหาและหลักการใช้ ทำให้เข้าใจง่ายขึ้น ขอบคุณข้อมูลดีๆนะคะ
ตอบลบมีการอธิบายเนื้อหาและวิธีการใช้ ชอบมากเลยค่ะ
ตอบลบเนื้อหาละเอียดดีค่ะ....เป็นประโยชน์มากสำหรับการเรียนภาษาอังกฤษ
ตอบลบเนื้อหาครบดี และมีการอธิบายละเอียดดีค่า
ตอบลบ